วันอังคารที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2557

Speech the tathagata

Speech the tathagata
Speech the tathagata

8. “So too, prince, such speech as the Tathagata knows to be
untrue, incorrect, and unbeneficial, and which is also unwelcome
and disagreeable to others: 
such speech the Tathagata does not utter. 
Such speech as the Tathagata knows to be true
and correct but unbeneficial, and which is also unwelcome and
disagreeable to others: 
such speech the Tathagata does not utter.
Such speech as the Tathagata knows to be true, correct, and beneficial,
but which is unwelcome and disagreeable to others: 
the Tathagata knows the time to use such speech.
 Such speech as the Tathagata knows to be untrue, incorrect, and unbeneficial,
but which is welcome and agreeable to others: such speech the
Tathagata does not utter. 
Such speech as the Tathagata knows to
be true and correct but unbeneficial, and which is welcome and
agreeable to others: 
such speech the Tathagata does not utter.
Such speech as the Tathagata knows to be true, correct, and beneficial,
and which is welcome and agreeable to others: 
the Tathagata knows the time to use such speech. 
Why is that? Because the Tathagata has compassion for beings.”

Bhikkhu Nanamoli and Bhikkhu Bodhi (Trans.)
The middle length discourses of the Buddha (1995) p.500


ลักษณะการพูดของตถาคต
ลักษณะการพูดของตถาคต

ลักษณะการพูดของตถาคต
ราชกุมาร ! ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันไม่จริง
ไม่แท้ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์และไม่เป็นที่รักที่พึงใจ
ของผู้อื่น ตถาคตย่อม ไม่กล่าววาจานั้น.
ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันจริง อันแท้ แต่ไม่ประกอบ
ด้วยประโยชน์และไม่เป็นที่รักที่พึงใจของผู้อื่น ตถาคตย่อม
ไม่กล่าววาจานั้น.
ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันจริง อันแท้ ประกอบ
ด้วยประโยชน์ แต่ไม่เป็นที่รักที่พึงใจของผู้อื่น ตถาคต
ย่อมเลือกให้เหมาะกาล เพื่อกล่าววาจานั้น.
ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบ
ด้วยประโยชน์ แต่เป็นที่รักที่พึงใจของผู้อื่น ตถาคตย่อม
ไม่กล่าววาจานั้น.
ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันจริง อันแท้ แต่ไม่ประกอบ
ด้วยประโยชน์ แต่ก็เป็นที่รักที่พึงใจของผู้อื่น ตถาคตย่อม
ไม่กล่าววาจานั้น.
ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันจริง อันแท้ ประกอบด้วย
ประโยชน์และเป็นที่รักที่พึงใจของผู้อื่น ตถาคตย่อมเป็น
ผู้ รู้จักกาละที่เหมาะเพื่อกล่าววาจานั้น.

ม. ม. ๑๓/๙๑/๙๔.